วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ทางรถไฟถ้ำกระแซ กาญจนบุรี Tham Krasae Bridge Railway in Kanchanaburi Thailand.

ทางรถไฟถ้ำกระแซ ตั้งอยู่ที่ ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอ ไทรโยค กาญจนบุรี เป็นที่หยุดรถของทางรถไฟสายมรณะ อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 55 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 323 กิโลเมตรที่ 29-30
Saphan Tham Krasae or Tham Krasae Bridge Railway is located in Lum Sum, Sai Yok district, Kanchanaburi province, Thailand.  It is stop point of The Death Railway. Away from Kanchanaburi city about 55 kilometers. on highway 323, kilometers at 29-30.


  ทางรถไฟถ้ำกระแซ เป็นสะพานไม้เลียบหน้าผา ที่มีความยาวกว่า 450 เมตร ปัจจุบันสิ้นสุดที่สถานีรถไฟน้ำตก
Saphan Tham Krasae or Tham Krasae Bridge Railway is wooden bridge along the cliffs with a length of over 450 meters. Currently ends at the Nam-Tok Station.





สะพานถ้ำกระแซ รถไฟสายมรณะ หรือ รถไฟสายพม่า-สยาม หรือ รถไฟสายไทย-พม่า เป็นชื่อที่คล้ายๆกัน เป็นระยะทาง 415 กิโลเมตร (258 ไมล์) ทางรถไฟระหว่างกรุงเทพฯ และ กรุงย่างกุ้งประเทศพม่า ที่สร้างโดย จักรวรรดิญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2486 เพื่อสนับสนุนกองกำลังที่ตั้งค่ายอยู่ในพม่า ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ถูกปิดลงในปี พ.ศ. 2517 แต่ส่วนระหว่างสถานีหนองปลาดุก และ สถานีน้ำตก ได้มีการเปิดในอีก 10 ปี ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2500

การบังคับใช้แรงงานถูกนำมาใช้ในการก่อสร้าง ประมาณ 180,000 คน เป็นพลเรือนเอเชีย (ส่วนใหญ่ romusha) และ 60,000 พันธมิตรเชลยศึก (POWs) ซึ่งทำงานในทางรถไฟสายนี้ ประมาณ 90,000 คน เป็นพลเรือนเอเชีย และ พันธมิตร POWs เสียชีวิตรวม 12,621 คน โดยของโครงการ POWs 6,904 บุคลากรอังกฤษ, 2802 ออสเตรเลีย, 2,782 ดัตช์, ชาวอเมริกัน ประมาณ 133และ POWs จากประเทศอื่น ๆ เครือจักรภพอังกฤษ (อินเดีย นิวซีแลนด์ และ แคนาดา)

Tham Krasae Bridge was Death Railway, the Burma-Siam Railway, the Thailand–Burma Railway and similar names, was a 415 kilometres (258 mi) railway between Bangkok, Thailand, and Rangoon, Burma (now Yangon, Myanmar), built by the Empire of Japan in 1943, to support its forces in the Burma campaign of World War II. The line was closed in 1947, but the section between Nong Pla Duk and Nam Tok was reopened ten years later in 1957

Forced labour was used in its construction. More than 180,000—possibly many more—Asian civilian labourers (Romusha) and 60,000 Allied prisoners of war (POWs) worked on the railway. Of these, estimates of Romusha deaths are little more than guesses, but probably about 90,000 died. 12,621 Allied POWs died during the construction. The dead POWs included 6,904 British personnel, 2,802 Australians, 2,782 Dutch, and 133 Americans. and POWs from other British Commonwealth countries (the Indian Empire, New Zealand and Canada). / Burma Railway  from Wikipedia.






สะพานถ้ำกระแซ นี้เป็นสะพานไม้ทางรถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สร้างในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ใช้เวลาสร้างเพียง 17 วัน เดินไปถ้ำ 80 เมตร แต่วันนี้เราไม่เดินไปเพราะฝนตก 
Krasae Bridge is the wooden longest railway bridge in Thailand, built since War World 2. Time spent to built only 17 days. Walkway to the cave 80 meters. but today I don't go there because have raining.









แม่น้ำแควน้อย จะมีรีสอร์ท 2 ฝั่ง จำนวนมาก  
River Kwai Noi  have a lot the resorts.




กลุ่มนักเรียนช่างภาพจากกรุงเทพฯ มารอเก็บภาพรถไฟที่นี่ด้วย 
The Student Photographers from Bangkok came here for take the photos about the railway.



และแล้วรถไฟก็มาจากสถานีน้ำตก 
And time for the train came from Nam-Tok Station.
















ที่พักสำหรับคืนนี้คือ ชิตะนันท์ แมนชั่น อยู่ในตัวเมืองกาญฯ 
Chitanan Mansion is in Kanchanaburi city, where I stay tonight.





ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี ตั้งอยู่บนถนนหลักเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ถูกสร้างขึ้นในสมัยพระยาประสิทธิสงคราม (รามภักดี ศรีวิเศษ) เจ้าเมืองกาญจนบุรีคนที่สอง เทศบาลเมืองกาญจนบุรีได้จัดงานพิธี ไหว้ศาลหลักเมืองขึ้นในวันขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 ของทุกปี 
Kanchanaburi Pillar Shrine Located on Lak Muang Road (main streen), Muang District, Kanchanaburi Province. Was built during the Phraya Phasith Song-Klam (Ram Phakdee Sri-Wiset), the second ruler of Kanchanaburi city. also Kanchanaburi Municipality held a ceremony of the Pillar Shrine to pray in the sixth day of the sixth lunar month of every year. 








พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3  ตั้งอยู่หลังประตูเมืองชุมชนปากแพรก ถนนปากแพรก ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมืองกาญจนบุรี เป็นประตูเมืองก่ออิฐถือปูน  สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2374 เมื่อครั้งย้ายเมืองจากตำบลลาดหญ้า มาสู่ปากแพรก กำแพงกว้าง 210 เมตร ยาว 480 เมตร มีป้อมประจำมุม 4 ป้อม มีประตู 8 ประตู ซึ่งหันหน้าสู่แม่น้ำแควใหญ่ / ท่องเที่ยวโบราณสถาน
Royal Monument of King Rama 3 located behind gate Chum-Chon (Community) Pak-Phraek on Pak-Phraek road in Ban Nhuer, Muang district, Kanchanaburi province.
A gate is a brick building on the year 1831 when the city moved from Lad-Yah district to Pak-Phraek area, The wall was a wide 210 meters and long 480 meters. with 4 the fort on each corner of the wall, has 8 door, which faces the River Kwai.








สะพานข้ามแม่น้ำแควในยามค่ำคืน 
Bridge of the River Kwai at Kanchanaburi.




หอนาฬิกากลางเมืองกาญจนบุรี ตั้งอยุ่ที่ถนนแสงชูโต ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
The Clock Tower of  Kanchanaburi City is located on Sang-Chutho Road in Ban Nhuer, Muang district, Kanchanaburi province.





ดู อ่าน เพิ่มเติม สถานที่อื่นๆ ใน กาญจนบุรี :

SEE, READ MORE about other places in Kanchanaburi :

วัดถ้ำเสือ น้ำตกห้วยแม่ขมิ้น กาญจนบุรี Wat Tham Suea, Huay Mae Kamin Waterfall in Kanchanaburi Thailand.




ขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชม และติดตามเราได้ที่
Thank You for visit my Blog Followed me on 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น